วันอังคารที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

บทที่ ๕ สาระสำคัญในคัมภีร์ปุคคลบัญญัติ

บทที่ ๕ สาระสำคัญในคัมภีร์ปุคคลบัญญัติ



. ธาตุบัญญัติ  มีกี่อย่าง
    ก. ๑๗   อย่าง
    ข. ๑๘   อย่าง   
    ค. ๑๙  อย่าง
    ง.  ๒๐  อย่าง

. ขันธบัญญัติ มีกี่ประการ
      ก.    ประการ
      ข. ๔   ประการ
      ค. ๕   ประการ    
      ง. ๒๐  ประการ

 . วิชชมานบัญญัติ  หมายถึง
       ก. การบัญญัติสิ่งสมมุติ
       ข. การบัญญัติสิ่งที่มิได้มีอยู่จริง
       ค. การบัญญัติสภาวธรรมที่มีอยู่จริง    
       ง. การบัญญัติสิ่งที่มีอยู่จริงร่วมกับสิ่งที่มิได้มีอยู่จริง

. บุคคลผู้โผล่ขึ้นแล้วจมลงอีก  คือบุคคลใด
       ก. บุคคลที่มีปัญญาไม่คงอยู่กับที่ ไม่เจริญ มีแต่เสื่อมอย่างเดียว   
       ข. บุคคลที่มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลายและศรัทธาของเขานั้นไม่เสื่อม
       ค. บุคคลที่มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย และเพราะสังโยชน์เบื้องต่ำ ๕ ประการสิ้นไป
       ง. บุคคลที่มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย และเขาทำให้แจ้งเจโตวิมุตติ

. บุคคลผู้ละอัตภาพในกามาวจรภูมิแล้วสำเร็จมีกี่ จำพวก
      ก.    จำพวก      
      ข.    จำพวก
      ค.   จำพวก
      ง. ๘  จำพวก
เฉลย ๑. ข  ๒. ค  ๓. ค  ๔. ก  ๕. ก
6.      การบัญญัติสภาวธรรมที่เป็นความจริง ว่าเป็นสัจจะ คือข้อใด
ก.  ขันธบัญญัติ
ข.  ธาตุบัญญัติ
ค. ปุคคลบัญญัติ
ง. สัจจบัญญัติ

7.      พระพุทธเจ้าทรงแสดง ปุคคลบัญญัติปกรณ์ ไว้กี่ประการ
ก.    ประการ
ข.    ประการ
ค.    ประการ
ง.    ประการ

8.      ปุคคลบัญญัติ เป็นคัมภีร์ที่แสดงบัญญัติเกี่ยวกับอะไร
ก.  สตนที
ข.  บุคคล
ค. หมู่บ้าน
ง.​ สถานศึกษา

9.      อริยสัจ    จัดอยู่ในข้อใดของบัญญัติ
ก.  อายตนบัญญัติ
ข.  สัจจบัญญัติ
ค.  ธาตุบัญญัติ
ง.  ขันธบัญญัติ

10.    คำว่า บุคคลบัญญัติ  เขียนเป็น บาลีได้อย่างไร
ก. ปุคฺคลปญฺญตฺติ
ข. ปญฺญาปนา ทสฺสนา
ค.​ ปญฺญัตฺติ
ง.​ นิกฺขิปนา  

เฉลย ๖. ง ๗.  ค  ๘.  ข  ๙.  ข  ๑๐.  ก

11.   ข้อใดให้ความหมายของปรมัตถสัจจะได้ถูกต้อง
ก.  ความจริงตามสภาวะแท้ๆ ที่เป็นจิต
ข.  ความจริงที่เป็นสมมุติ
ค.​  ยอมรับเข้าใจความหมายของหมู่ชน
ง.​    บัญญัติแต่งตั้งขึ้นเพื่อใช้เรียกขาน

12.   หัวใจพระพุทธศาสนาประการที่ ๓ คือ อะไรที่ถูกที่สุด
 ก.​    สละจากกิเลสตัณหา
 ข.    การทำจิตของตนให้ผ่องใส
 ค.​   ไม่ดื่มของมึนเมา
 ง.​    กำจัดอนุสัยกิเลส

13.   ภาคนิเทสแบ่งปันกี่นิเทส
ก. 10  นิเทส
ข. 20  นิเทส
ค.​  30  นิเทส
ง.​   40  นิเทส

14.   วิธีปุจฉาและวิสัชชนาแต่ละบุคคลยกเว้นนิเทสใดมาอธิบายขยายความ
ก.   นิเทสที่ ๔
ข.   นิเทสที่ ๕
ค.   นิเทสที่ ๖
ง.​    นิเทสที่ ๗

15.   ข้อใดอยู่ในขันธบัญญัติ ๕ ประการ
ก.    จักขายตนะ
ข.    จักขุธาตุ
ค.   ทุกขสัจจะ
ง.    รูปขันธ์

  เฉลย   ๑๑.       ๑๒    ๑๓    ๑๔.     ๑๕.
   
๑๖. วัชชมานปัญญัติ หมายถึงอะไร
ก.      การบัญญัติที่มิได้มีอยู่จริง
ข.      การบัญญัติสภาวธรรมที่มีอยู่จริง เช่น กุสลา ธัมมา สภาวธรรมที่เป็นอกุศล
ค.      การบัญญัติสิ่งที่ไม่มีอยู่จริง รวมกับสิ่งที่มีอยู่จริง
ง.       การบัญญัติสิ่งที่มีอยู่จริง

๑๗.    บัญญัติ ๖  ประการ ความนัยของอาจารย์ คือ
ก.      อวิชชมานบัญญัติ , อุปนิชาบัญญัติ
ข.      วัชชมานบัญญัติ , อุปนิชาบัญญัติ
ค.      อุปนิชาบัญญัติ , อุปนิชาบัญญัติ
ง.       หตัถคตูปนิชา , วิชชามนบัญญัติ

๑๘.     กิจจบัญญัติ หมายถึงอะไร
ก.      การบัญญัติโดยอาศัยหน้าที่
ข.      การบัญญัติโดยอาศัยรูปพรรณสัณฐาน
ค.      การบัญญัติโดยอาศัยสถานที่
ง.       การบัญญัติให้เป็นชื่อของอลังขตธรรม

๑๙.     หมวดว่าด้วยบุคคล ๓ จำพวก แบ่งเป็นกี่กลุ่ม
ก.      ๑๖  กลุ่ม
ข.      ๑๗  กลุ่ม
ค.      ๑๘  กลุ่ม
ง.       ๑๙  กลุ่ม

๒๐.     บุคคล  ๑๐  จำพวกคืออะไร
ก.      บุคคลผู้ศรัทธาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย
ข.      บุคคลผู้ที่พร้อมเพรียงด้วยมรรค ๔ จำพวก
ค.      บุคคลผู้มีความสำเร็จในกามาวจรภูมิ ๕ จำจวก
ง.       บุคคลผู้มีปัญญาดีในกุศลธรรม
  เฉลย   ๑๖.       ๑๗   ๑๘    ๑๙.      ๒๐.

๒๑. โครงสร้างของปุคคลบัญญัติ  แบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ก.      ภาคอุทเทส  และภาคอุทเทส
ข.      ภาคอุทเทส  และภาคนิทเทส 
ค.      ภาคนิทเทส  และภาคนิทเทส
ง.       ภาคประธาน และภาคแสดง

๒๒.    ขันธบัญญัติ มีกี่ประการ
ก.       ประการ
ข.       ประการ 
ค.       ประการ
ง.          ประการ

๒๓.     ข้อใดไม่ใช่  สัจจบัญญัติ
ก.      ทุกขสัจจะ
ข.      สมุทยสัจจะ
ค.      มัคคสัจจะ
ง.       มรรค ๘ 

๒๔.     อุปาทาบัญญัติ หมายถึงอะไร
ก.      การบัญญัติโดยอาศัยสิ่งอื่น 
ข.      การบัญญัติโดยเทียบเคียงซึ่งกันและกัน
ค.      การบัญญัติสภาวธรรมที่มีอยู่จริง
ง.       การบัญญัติสิ่งสมมุติ

๒๕.     อุปนิธาบัญญัติ หมายถึงอะไร
ก.      การบัญญัติโดยอาศัยสิ่งอื่น 
ข.      การบัญญัติโดยเทียบเคียงซึ่งกันและกัน  
ค.      การบัญญัติสภาวธรรมที่มีอยู่จริง
ง.       การบัญญัติสิ่งสมมุติ

เฉลย   ๒๑.       ๒๒   ๒๓    ๒๔.      ๒๕.



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น