วันอังคารที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

บทที่ ๒ สาระสำคัญในคัมภีร์ธัมมสังคณี


บทที่ ๒ สาระสำคัญในคัมภีร์ธัมมสังคณี

ตอนที่ ๑
๑.   เหตุผลที่พระองค์ทรงแสดงอกุศลธรรมต่อจากกุศลธรรม คือ
ก.     อกุศลธรรมย่อมเป็นอฎิปักษ์ต่อกุศลธรรมอยู่แล้ว เพื่อให้เห็นสถานที่ตรงกันข้าม
ข.      เพื่อแสดงธรรมตามลำดับตามความเป็นไป
ค.      การที่แสดง อกุศลก่อนกุศลเพื่อให้เป็นสถานที่พ้นจากวัฏฏจักรทุกข์
 ง.      ไม่มีข้อถูก
๒.    คัมภีร์ธัมมสังคณี แสดงมาติกากี่นัย อะไรบ้าง
ก.        นัย  ได้แก่  ติกมาติกา , อภิธรรมทุกมาติกา ,สุตตันตมาติกา กุสลติกะ
ข.        นัย  ได้แก่  ติกมาติกา , อภิธรรมทุกมาติกา , สุตตันตมาติกา
ค.        นัย  ได้แก่  อภิธรรมทุกมาติกา , ติกมาติกา
 ง.          นัย   ได้แก่  สุตตันตมาติกา
๓.     วิจิกิจฉาเจตสิก หมายถึง อะไร
ก.      วิจิกิจฉาเจตสิก    ดวง  ได้แก่  วิจิกิจฉา ธรรมชาติที่มีความสำคัญสงสัย
ข.      เจตสิกที่ประกอบในโสภณจิต  ๔๙  ดวง
ค.      ธรรมชาติที่มีความตลึกในอารมณ์ ที่เกี่ยวด้วยกุศลธรรม
ง.       ธรรมชาติที่สะดุ้งกลัวต่อการงานอันเป็นทุจริต
๔.     รูปสมุฏฐาน    ธรรมที่เป็นให้เกิดรูป ๔ อย่าง คือ อะไร
ก.      จิต , กัมมชรูป , อุตุ , อาหาร                                               ข.      กรรม , จิต , อุตุ , อาหาร
ค.      กรรม , กัมมชรูป , อุตุชรูป , สัททารมณ์        ง.       อาหาร , กรรม, อุตุชรูป , สัททารมณ์

 ๕.     นิพพาน มีกี่ประเภท อะไรบ้าง
ก.      ความสงบจากกิเลสนำมายึดด้วยกิเลสทั้งหลาย          
ข.        ประเภท  คือ นำนิพพานมารวมกัน
ค.        ประเภท  คือ  สงบจากกิเลสทั้งหลาย ,การนำขันธ์ ๕ เข้ามาเกี่ยวข้องด้วย
ง.      ไม่มีข้อถูก
๖.      ธัมมสังคณี  หมายถึงอะไร
ก.      คัมภีร์ที่ประมวลสภาวธรรม หรือ ปรมัตถธรรม         
ข.      คัมภีร์ที่แสดงการนับจำนวนสภาวธรรม
ค.      สภาวธรรมที่มีปรากฏตามความจริง                                                 
ง.       ถูกทุกข้อ
๗.    เจตสิก มีความสัมพันธ์กับจิตอย่างไร
 ก.      ธรรมชาติที่ประกอบกับจิตประกอบด้วยจิตลักษณะ  ๔ ประการ
ข.      ธรรมชาติที่มีจิต ( อาศัยจิตเกิด )
ค.      ธรรมชาติเกิดพร้อมกับจิต
ง.       ธรรมชาติที่มีอารมณ์เดียวกับจิต
๘.     เจตสิก  แปลว่าอะไร
ก.      ธรรมชาติที่สงบ
ข.      ธรรมชาติที่กระตุ้นเตือนและชักชวนสัมปยุตตธรรมในอารมณ์
ค.      ธรรมชาติที่มีในจิต หรือ ธรรมที่ประกอบกับจิต
ง.       จิตที่ประกอบกระทบกับอารมณ์  
 ๙.     การแสดงรูปกัณฑ์  มีการแสดงแบ่งเป็นกี่ส่วน
ก.        ส่วน              ข.        ส่วน
ค.        ส่วน             ง.         ส่วน
๑๐.     การแสดงมาติกาแต่ละหมวด  มีความสำคัญอย่างไร
ก.      ธรรมที่เกิดจากคำสอนของพระพุทธเจ้า      ข.      สภาวธรรมเหล่านี้ทำให้สัตว์ร้องไห้
ค.      สามารถนำไปพิจารณาทำให้เกิดปัญญา         ง.       ถูกทุกข้อ
๑๑. เหตุผลในการแสดงกุสลติกะ ก่อนติกะอื่นๆ มีกี่ประการ
                  ก. ๒ ประการ                             ข. ๓ ประการ
                  ค. ๔ ประการ                             ง. ๕ ประการ
๑๒. “ จิต ” มีไวพจน์ หรือมีชื่อที่ใช้เรียกขานกัน ดังปรากฏในธัมมสังคณี ทั้งหมดกี่ชื่อ
                  ก. ๘ ชื่อ                                       ข. ๙ ชื่อ
                  ค. ๑๐ ชื่อ                                    ง. ๑๑ ชื่อ
๑๓. โลกุตรจิต (จิตที่พ้นจากโลก) ๔ ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
                  ก. จิตอันเป็นกุศล ประกอบด้วยอากิญจัญญายตนสัญญา
                  ข. จิตอันเป็นกุศล อันเนื่องด้วยโสดาปัตติมรรค
                  ค. จิตอันเป็นกุศล อันเนื่องด้วยสกทามิมรรค
                  ง. จิตอันเป็นกุศล อันเนื่องด้วยอรหันตมรรค
๑๔. เจตสิก มีกี่สภาวะ
                  ก. ๕๐ สภาวะ                             ข. ๕๒ สภาวะ
                  ค. ๕๔ สภาวะ                            ง. ๕๖ สภาวะ
๑๕. รูปปรมัตถ์ มี่กี่สภาวะ
                  ก. ๒๐ สภาวะ                            ข. ๒๒ สภาวะ
                  ค. ๒๖ สภาวะ                            ง. ๒๘ สภาวะ

ตอนที่ ๒

.คัมภีร์ที่แสดงการนับจำนวนสภาวธรรมตรงกับข้อใด
   . คัมภีร์ธัมมสังคณี
   . คัมภีร์วิภังค์
   . คัมภีร์ธาตุกถา
   . คัมภีร์ปุคคลบัญญัติ
.อัชฌัตตติกะ ว่าด้วยหมวดอะไร
   . หมวดธรรมที่เห็นได้
   . หมวดธรรมภายใน
   . หมวดธรรมที่เกิดแล้ว
   . หมวดธรรมที่ยึดถือ
.กัณฑ์ที่ติกะและทุกรวมกันด้วยวิธีการที่ไม่ย่อไม่พิสดารจนเกินไป คือกัณฑ์ใด
   . จิตตุปปาทกัณฑ์
   . รูปกัณฑ์
   . นิกเขปกัณฑ์
   . อัฏฐกถากัณฑ์
.กุศลธรรมที่เป็นปัจจัยให้ออกจากภูมิทั้ง ๓ เรียกว่าอะไร
   . โลกุตตรกุศล
   . เตภูมิกกุศล
   . อรูปาวจรกุศล
   . รูปาวจรกุศล
.เอกุปฺปาท มีลักษณะอย่างไร
   . เกิดพร้อมกันกับจิต
   . ดับพร้อมกันกับจิต
   . มีอารมณ์อันเดียวกันกับจิต
   . มีที่อาศัยแห่งเดียวกันกับจิต
.ข้อใดเป็นความหมายของปัญณินทรีย์เจตสิกที่ถูกต้อง
   . เจตสิกที่มีเจตนางดเว้นจากทุจริตเป็นประธาน
   . เจตสิกที่มีหน้าที่ปกครองในการรู้ต่างๆโดยทั่วไปตามความเป็นจริง
   . เจตสิกที่เกิดขึ้นโดยอาศัยขิตสัตว์หรือสุจิตสัตว์ทั่วไปไม่จำกัด
   . เจตสิกที่ประกอบกับจิตทั่วไปทั้งหมด
.นานาทาจิเจตสิก หมายถึงข้อใด
   . เจตสิกที่ประกอบได้เป็นครั้งบางคราวและประกอบไม่พร้อมกัน
   . เจตสิกที่ประกอบได้เป็นบางครั้งบางคราว
   . เจตสิกที่ประกอบได้เป็นบางครั้งบางคราวแต่พร้อมกัน
   . เจตสิกที่ประกอบกับจิตได้แน่นอน
.ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
   . สัพพจิตตสาธารณเจตสิก มีเจตสิกประกอบ ๕๑ ดวง
   . วิตกวิจาร วิริยะ  มีเจตสิกประกอบ ๕๑ ดวง
   . อธิโมก๘ ฉันทะ  มีเจตสิกประกอบ ๔๘  ดวง
   .  ปีติ  มีเจตสิกประกอบ  ๔๖  ดวง
.รูปปรมัตถ์มีกี่สภาวะ
   . ๒๖
   . ๒๗
   . ๒๘
   . ๒๙
๑๐.ปถวี ในมหาภูตรูป ๔ หมายถึงข้อใด
   . รูปที่แข็ง  และอ่อน
   . รูปที่ไหล และเกาะกุม
   . รูปที่เย็น  ร้อน
   . รูปที่หย่อน ตึง
๑๑. ปสาทรูป ๕ หมายถึงอะไร
   . รูปที่เป็นเหตุให้สัตว์ทั้งหลายทำสิ่งที่เป็นประโยชน์ และไม่เป็นประโยชน์ให้เกิดขึ้นได้
   . รูปที่เป็นอารมณ์ของจิต เจตสิกที่เกิดทางตา หู จมูก ลิ้น กาย และโดยตรง
   . รูปที่มีสภาพใส สามารถรับอารมณ์ของตนๆได้
   . รูปที่แสดงอาการอันเป็นพิเศษของนิปผันนรูป
๑๒.อุตุชรุป เกิดขึ้นครั้งแรกที่ใด
   . เกิดครั้งแรกที่อุปปาทักขณะของปฏิสนธิจิต
   . เกิดครั้งแรกที่อุปปาทักขณะของปฐมภังค์
   . พวกสังเสทชะและโอปปาติกะนั้น เมื่อปฏิสนธิแล้วก็กินอาการได้ทันทีพวกคัพภเสยยกะนั้นอาหารชรูปเกิดเมิเมื่อสัปดาห์ที่ ๒ หรือ ๓
   . เกิดครั้งแรกที่ฐีติขณะของปฏิสนธิจิต





ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น