บทที่ ๔
สาระสำคัญในคัมภีร์ธาตุกถา
๑. ลักขณมาติกา
มีกี่ลักษณะ
ก. 2 ลักษณะ
ข. 3 ลักษณะ
ค. 4 ลักษณะ
ง. 5 ลักษณะ
๒. ข้อใดกล่าวถึงความหมายของ
วิปัสสนาภูมิได้ถูกต้อง
ก. เห็นแจ้ง
หรือเห็นอย่างวิเศษ
ข. การกำหนดไตรลักษณ์ของรูปนามเท่านั้น
ค.
ภูมิหรือพื้นที่ หรือที่ตั้ง หรือกรมฐาน หรืออารมณ์ของวิปัสสนา
ง. ปัญญาที่เกิดจากการพิจารณาไตรลักษณ์ของวิปัสสนาภูมิฉันนั้น
๓. นยมุขมาติกา มีกี่นัย
ก. 14 นัย
ข. 15 นัย
ค. 16 นัย
ง. 17 นัย
๔. พาหิรมาติกา หมายถึง
ก.
สภาวธรรมแม่บทที่เป็นหลักแห่งนัย
ข.
ลักษณะของสภาวธรรมที่สงเคราะห์เข้าได้ และที่สงเคราะห์เข้าไม่ได้
ค.
วิธีการจำแนกหรือจัดหมวดหมู่สภาวธรรมแม่บทจำนวน 371 บท
ง. มาติกาของคัมภีร์ธัมมสังคณี
ที่นำมาสงเคราะห์เข้ากับขันธ์ อายตนะ ธาตุ
*
๕. มาติกาแบ่งเป็น กี่อุทเทส
ก. 2 อุทเทส
ข. 3 อุทเทส
ค. 4 อุทเทส
ง. 5 อุทเทส
เฉลย
๑. ก ๒. ค ๓. ก
๔. ง ๕. ก
6.
คำว่า ธาตุกถา มาจากคำใด
ก. ธา+ตุ+ก+ถา
ข. ธาตุ+ ก+ถา
ค. ธาตุ+กถา
ง. ธาตุก+ถา
7. ธาตุกถา
แสดงเป็นกี่ภาค
ก.
๕ ภาค
ข.
๔ ภาค
ค.
๓ ภาค
ง.
๒ ภาค
8.
นยมาติกา
คือการจัดหมวดหมู่สภาวธรรมแม่บทกี่บท
ก. ๓๗๒ บท
ข. ๓๗๑ บท
ค. ๓๗๐ บท
ง. ๓๖๙ บท
9.
พาหิรมาติกา แปลว่าอย่างไร
ก. สภาวธรรมแม่บทภายใน
ข. สภาวธรรมแม่บทภายนอก
ค. สภาวธรรมแม่บทสังเคราะห์
ง. สภาวธรรมแม่บทสังเคราะห์ไม่ได้
10.
วิปัสสนาภูมิ หมายถึง
ก. อารมณ์ของวิปัสสนา
ข. นามของวิปัสสนา
ค. ขันธ์ของวิปัสสนา
ง. รูปของวิปัสสนา
เฉลย ๖.
ค ๗.
ง ๘. ข
๙. ข ๑๐. ก
๑๑. คัมภีร์ธาตุกถาเป็นคัมภีร์ลำดับที่เท่าไรของพระอภิธรรมปิฏก
ก.
ลำดับที่ 1
ข. ลำดับที่ 2
ค. ลำดับที่ 3
ง. ลำดับที่ 4
๑๒. สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงสาระสำคัญไว้อย่าง
ก. นำเอาพระธรรมจากคัมภีร์ธัมมสังคณีและคัมภังค์มาสงเคราะห์เข้ากับขันธ์
อายตนะธาตุ
ข. คัมภีร์ไขตามบาลีพระพุทธพจน์
ค. คัมภีร์อรรถกถา และอภิธรรม
ง.
เป็นจริงของชีวิตว่าทุกสิ่งล้วนเป็นเพียงธาตุ
๑๓. ธาตุกถาแสดงเป็น
2 ภาคคืออะไร
ก .
ภาคอุทเทส และมาติกา
ข. ภาคอุทเทส
และภาคนิทเทส
ค. มูลมาติกาและภาคอุทเทส
ง. ภาคนิทเทส และมาติกา
๑๔.
หมวดหมู่สภาวธรรมแม่บทมีจำนวนกี่บท
ก. 300
ข. 371
ค.
351
ง. 321
๑๕. เค้าโครงของธาตุกถามี
กี่นัย
ก. 10
นัย
ข. 11 นัย
ค. 13 นัย
ง. 14 นัย
เฉลย
๑๑. ค ๑๒. ก ๑๓. ข ๑๔. ข ๑๕. ง
๑๖. ผัสสสัตตกราสีอุทเทส มีกี่ประเภท มีอะไรบ้าง
ก. อุทเทส คือ ผัสสอุเทส
ข. ๒ อุทเทส คือ สัญญาอุทเทส
, เวทนาอุทเทส
ค. ๗ อุทเทส คือ ผัศศอุเทส
, เวทนาอุทเทส , สัญญาอุทเทส , เจตนาอุทเทส ,
จิตตอุทเทส , อธิโมกขอุทเทส , มนสิการอุทเทส
ง. ๓ อุทเทส คือ จิตตอุทเทส , เจตนาอุทเทส , มนสิการอุทเทส
๑๗. ลักขณมาติกา
หมายถึงอะไร
ก.
ลักษณะสภาวธรรมที่ประกอบเข้าไม่ได้
ข.
ลักษณะของสภาวธรรมที่สงเคราะห์เข้าได้ และสงเคราะห์เข้าไม่ได้
ค.
ลักษณะธรรมที่สงเคราะห์เข้าไม่ได้
ง.
ลักษณะธรรมก็เหมือนคำสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้า
๑๘. วิปัสสนาภูมิที่พระพุทธองค์ทรงแสดงไว้
มีกี่ภูมิมีอะไรบ้าง
ก. ๓
ภูมิ คือ ปฏิจจสมุปบาท , ๑๒ ธาตุ ๑๘ , ขันธ์
๕
ข. ๔
ภูมิ คือ ขันธ์ ๕ , ธาตุ ๑๘ , อายตนะ
๑๒ , อินทรีย์ ๒๒
ค. ๖
ภูมิ คือ ขันธ์ ๕ , อายตนะ ๑๒ , ธาตุ
๑๘ , อิทรีย์ ๒๒ , อริยสัจ ๔ , ปฏิจจสมุปบาท ๑๒
ง. ๕ ภูมิ คือ อายตนะ ๑๒ , ธาตุ ๑๘ , อินทรีย์ ๒๒ , อริยสัจ ๔ , ขันธ์
๕
๑๙. วิปัสสนา
แปลว่าอะไร
ก.
บ่อเกิดของธรรมต่างๆ
ข. รู้แจ้งเห็นจริง เห็นอย่างผู้วิเศษ
ค.
ธรรมชาติที่ทรงไว้ ซึ่งลักษณะของตน
ง.
ไม่มีข้อถูก
๒๐.
อัพภันตรมาติกา หรือมาติกาภายใน แบ่งออกเป็น ๒ ประเภทอะไรบ้าง
ก.
ขันธาทิอุทเทส ๑ , ผัสสสัตตกราอุทเทส ๑
ข.
ขันธาทิอุทเทส ๑ , อายตนะ ๑๑
ค.
ผัสสสัตตกราอุทเทส ๑ , อายตนะ ๑๑
ง. อายตนะ ๑๑ , ขันธ์ ๕
เฉลย
๑๖. ค ๑๗. ข ๑๘. ค
๑๙. ข ๒๐. ก
๒๑.
คัมภีร์ธาตุกถา มีความสำคัญอย่างไร
ก. การนำเอาหลักคำสอนมายึดถือปฏิบัติ
ข. การจัดหมวดหมู่ แม่บทแห่งธรรม
ค. การสืบทอดหลักธรรมคำสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้า
ง. การนำเอาคัมภีร์ทั้งหลายมาร่วมกันเพื่อให้เป็นว่าธรรมล้วนเป็นเพียงธาตุ
๒๒. ธาตุกถา แสดงเป็นกี่ภาค อะไรบ้าง
ก. ๑ ภาค คือ
ภาคอุทเทส
ข. ๑ ภาค คือ ภาคนิทเทส
ค. ๒ ภาค คือ ภาคอุทเทส , ภาคนิทเทส
ง. ๓ ภาค คือ ภาคนิเทเทส , ภาคอุททเทส , ธาตุกถา
๒๓. วิปัสสนาภูมิ หมายถึงอะไร
ก. ภูมิหรือพื้นที่ หรือที่ตั้ง หรือกรรมฐาน หรืออารมณ์วิปัสสนา
ข. วิปัสสนาที่พระองค์ทรงแสดงไว้มี ๖ ภูมิ
ค. การเจริญวิปัสสนา คือ การกำหนดจิต
ง. การกำหนดจิตให้สงบ
๒๔. นยมาติกา แปลว่าอะไร
ก. นยมาติกา มาจากคัมภีร์ปิฎก
ข. สภาวธรรมแม่บทที่เป็นนัย หรือ วิธีการจัดหมวดหมู่
ค. สภาวธรรมแม่บทมี ธาตุ ๑๔ ภูมิ
ง. แสดงธรรมสภาวธรรมแม่บทอุทเทสพร้อมกัน
๒๕. มูลมาติกา คืออะไร
ก.
สภาวธรรมที่เข้าได้กับสภาวธรรม
ข.
สภาวธรรมที่สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับสภาวธรรม
ค.
สภาวธรรมที่ประกอบเข้าไม่ได้กับสภาวธรรม
ง.
สภาวธรรมแม่บทที่เป็นเค้าโครงของธาตุกถามี ๑๔ นัย
๒๖.
ข้อใดไม่ได้อยู่ใน มาติกา ๕
ก.
พาหิรมาติกา
ข.
ลักขณมาติกา
ค.
นยมาติกา
ง.
ทุตินยนิทเทส
๒๗.
จตูหิ สมฺปโยโค แปลว่าอะไร
ก.
สภาวธรรมที่สงเคราะห์เข้าได้กับสภาวธรรม ๔ หมวด
ข.
สภาวธรรมที่สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับสภาวธรรม ๔ หมวด
ค.
สภาวธรรมที่สงเคราะห์เข้าได้กับสภาวธรรม ๕ หมวด
ง.
สภาวธรรมที่สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับสภาวธรรม ๕ หมวด
เฉลย
๒๑. ง ๒๒. ค ๒๓. ก
๒๔. ข ๒๕. ง ๒๖. ง ๒๗. ค
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น