วันอังคารที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

บทที่ ๓ สาระสำคัญในคัมภีร์วิภังค์


บทที่ ๓  สาระสำคัญในคัมภีร์วิภังค์




๑.  ข้อใดมิใช่นัยการแสดงในคัมภีร์วิภังค์
      ก.  อภิธัมมภาชนียนัย
      ข.  สุตตันตภาชนียนัย
      ค.  วินยภาชนียนัย
      ง.  ปัญหาปุจฉกนัย
๒.  การจำแนกแจกแจงธรรมเป็นความหมายของคัมภีร์ข้อใด
      ก.  ธัมมสังคณี
      ข. วิภังค์
      ค.  ยมก
      ง.  ปัฏฐาน
๓.  วิภังค์มีความหมายสอดคล้องกับพุทธคุณในข้อใด
      ก.  อรหโต
      ข.  สัมมาสัมพุทโธ
      ค.  สุคโต
      ง.  ภควา
๔.  การจำแนกธรรมตามสถานการณ์คือข้อใด
      ก.  ปัญหาปุจฉกนัย
      ข.  วินยภาชนียนัย
      ค.  สุตตันตภาชนียนัย
      ง.  อภิธัมมภาชนียนัย
๕.  พระพุทธเจ้าทรงแสดงวิภังค์ไว้ทั้งหมดกี่วิภังค์
      ก.  16  วิภังค์
      ข.  17  วิภังค์
      ค.  18  วิภังค์
      ง.  19  วิภังค์
เฉลย  ๑.  ค  ๒.  ข  ๓.  ง  ๔.  ค ๕.  ค
. สุตตันตภาชนียนัย หมายถึงอะไร
      ก. การวางลำดับไว้อย่างมีระเบียบแบบแผนไม่มีความลักลั่น
      ข.การจำแนกธรรมตามกระบวนการแห่งพระอภิธรรม
      ค.การจำแนกธรรมตามที่แสดงไว้แล้วในพระสูตรโดยอนุโลมตามอัธยาศัย
      ง.การนำเอาติกะและทุกะจากคัมภีร์ธัมมสังคณีมาตั้งเป็นคำถาม-คำตอบ
. ข้อใดไม่ได้จัดอยู่ในวิภังค์ที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงไว้
      ก. ธาตุทุกะ
      ข. ขันธวิภังค์
      ค.อายตนวิภังค์
      ง. ธาตุวิภังค์
. ข้อใดไม่อยู่ในการจำแนกขันธ์ ๕ ด้วยสุตตันตภาชนียนัย
      ก. รูปขันธ์
      ข. เวทนาขันธ์
      ค. สัญญาขันธ์
      ง. มหาภูตรูป ๔
. วิภังค์เป็นคัมภีร์ที่เท่าไร ของพระอภิธรรม
      ก. เป็นคัมภีร์ที่ ๑
      ข. เป็นคัมภีร์ที่ ๒
      ค. เป็นคัมภีร์ที่ ๓
      ง. เป็นคัมภีร์ที่ ๔
๑๐. รูปภายในเป็นไฉน  หมายถึง
      ก. รูปใดของสัตว์นั้น ๆ เอง ซึ่งมีในตน เฉพาะตน
      ข. รูปใดเกิดแล้ว เกิดพร้อมแล้ว บังเกิดแล้ว
      ค. รูปใดยังไม่เกิด ยังไม่เป็น ยังไม่เกิดพร้อม
      ง. รูปอย่างใดอย่างหนึ่ง คือ รูปอดีต รูปปัจจุบัน
เฉลย ๖. ค  ๗. ก  ๘. ง  ๙. ข  ๑๐. ก
๑๑. การจำแนกธรรมตามที่แสดงไว้แล้วในพระสูตร คือการจำแนกวิภังค์แบบใด
      ก. สุตันตภาชนียนัย
      ข. อภิธัมมภาชนียนัย
      ค. ปัญหาปุจฉกนัย
      ง. ธาตุวิภังค์
๑๒. การจำแนกตามกระบวนการแห่งพระอภิธรรมปิฎก คือการจำแนกวิภังค์แบบใด
      ก. สุตันตภาชนียนัย
      ข. อภิธัมมภาชนียนัย
      ค. ปัญหาปุจฉกนัย
      ง​. ธาตุวิภังค์
๑๓. การนำเอาติกะและทุกะจากคัมภีร์ธัมมสังคณีมาตั้งเป็นคำถาม คำตอบ เป็นการจำแนกวิภังค์แบบใด
      ก. สุตันตภาชนียนัย                   ข. อภิธัมมภาชนียนัย
      ค. ปัญหาปุจฉกนัย                    ง.​ ธาตุวิภังค์
๑๔. สุตตันตภาชนียนัย จำแนกขันธ์ ๕ เป็นกี่ประเภท
      ก. ๑๐ ประเภท                   ข. ๑๒ ประเภท
      ค. ๑๑ ประเภท                   ง.  ๑๓ ประเภท
๑๕. ธรรมเหล่าใดที่ไม่ถูกจัดเข้าในติกบทและทุกบท ธรรมเหล่านั้นถูกจัดเป็นพวกใด
      ก. ติกวิมุติ                         ข.  สันติกะ
      ค.​ ทุกวิมุติ                         ง.  โอชาริกะ
๑๖. สุตตันตภาชนียนัย แยกขันธ์ 5 เป็นกี่ประเภท
      ก. 7              . 8      ค. 9       ง. 11
๑๗. เวทนาใด  ล่วงไปแล้ว  นี้เรียกว่า
      ก. เวทนาอดีต                          ข. เวทนาอนาคต                ค. เวทนาปัจจุบัน               ง. เวทนาภายใน
๑๘. เวทนาใด  ยังไม่เกิด  นี้เรียกว่า
      ก. เวทนาอดีต                          ข. เวทนาอนาคต   
      ค. เวทนาปัจจุบัน                     ง. เวทนาภายใน
๑๙. เวทนาใด  เกิดแล้ว  นี้เรียกว่า
      ก. เวทนาอดีต                          ข. เวทนาอนาคต   
      ค. เวทนาปัจจุบัน                     ง. เวทนาภายใน
๒๐. เวทนาใด  ของสัตว์นั้นนั่นเอง  นี้เรียกว่า
      ก. เวทนาอดีต                          ข. เวทนาอนาคต                
      ค. เวทนาปัจจุบัน                      ง. เวทนาภายใน
๒๑. วิธีการจำแนกวิภังค์  มีกี่ประเภท  ?
      ก. 1      ประการ                     ข. 2      ประการ
      ค. 3      ประการ                     ง.​ 4      ประการ
๒๒. วิญญาณขันธ์หมวดละ  1   คือข้อใด
      ก. วิญญาณขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต
      ข. วิญญาณขันธ์เป็นสเหตุกะ
      ค.​ วิญญาณขันธ์เป็นโลกิยะ
      ง.​ วิญญาณขันธ์เป็นกามาวจร
๒๓. เวทนาขันธ์หมวดละ  1   คือข้อใด
      ก. เวทนาขันธ์ที่เป็นกามาจร
      ข. เวทนาขันธ์ที่เป็นอรูปาวจร
      ค.​ เวทนาขันธ์ที่เป็นสอุตตระ
      ง.​ เวทนาขันธ์ที่เป็นผัสสสัมปยุต
๒๔. สัญญาขันธ์หมวดละ  2   คือข้อใด
      ก. สัญญาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต
      ข. สัญญาขันธ์เป็นสเหตุกะ  เป็นอเหตุกะ
      ค.​ สัญญาขันธ์เป็นวิบาก
      ง​. สัญญาขันธ์เป็นกามาจร
๒๕. สังขารขันธ์หมวดละ  2   คือข้อใด
      ก. จักขุสัมผัสสชาเจตนา
      ข. กายสัมผัสสชาเจตนา
      ค.​ สังขารขันธ์เป็นโลกิยะ  เป็นโลกุตตระ
      ง.​ สังขารขันธ์เป็นอดีต




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น