วันอังคารที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

บทที่ ๖ สาระสำคัญในคัมภีร์กถาวัตถุ (ชุด๒)

บทที่ ๖ สาระสำคัญในคัมภีร์กถาวัตถุ (ชุด๒)

1.      พระโมคคัลลีบุตรติสสเถระเกิดความละอายใจต่อการประพฤติปฏิบัติของเหล่าภิกษุ อลัชชีที่ปลอมบวชทั้งหลาย จึงปลีกตัวไปอยู่ที่อุโธคงคาบรรพต เจริญวิปัสสนาอยู่ที่นั่นเงียบๆเป็นเวลากี่ปี
ก. ๔ ปี                ข. ๕ ปี
ค. ๖ ปี               ง. ๗ ปี
2.      เพราะจำนวนพระอลัชชีมากกว่าพระภิกษุ
แท้ พระภิกษุแท้จึงต้องหยุดทำอุโบสถสังฆกรรมกี่ปี
ก. ๕ ปี                ข. ๖ ปี
ค. ๗ ปี               ง. ๘ ปี
3.      พระเจ้าอโศกมหาราช มีความเลื่อมใสและซาบซึ้งในหลักธรรมอันบริสุทธิ์ของพระพุทธองค์ ได้ประทับอยู่อุทยานเป็นเวลานานกี่วัน
ก. ๕ วัน              ข. ๖ วัน
ค. ๗ วัน              ง.​ ๘ วัน
4.      พระเจ้าอโศกมหาราช ได้ประกาศบอกให้ภิกษุที่อยู่ในชมพูทวีปให้มาประชุมกันในวันที่เท่าไหร่
ก. วันที่ ๕                        ข. วันที่ ๖
ค. วันที่ ๗                        ง.​ วันที่ ๘
5.      พระโมคคัลลีบุตรติสสเถระ ได้ถวายเทศนาแก่ใคร
ก. พระเจ้าพิมพิสาร 
ข. ​พระเจ้าอโศกมหาราช
ค.​ พระมหากัสสปะ
ง.​ พระอานนท์
6.      พระเจ้าอโศกมหาราช ได้ประกาศบอกให้ภิกษุที่อยู่ในชมพูทวีปให้มาประชุมกัน ณ ที่ใด
ก. เมืองสาวัตถี       ข. อโศการาม
ค. เมืองเวสาลี       ง. เมืองราชคฤ แคว้นมคธ
7.      พวกสัสสตวาที คือใคร
ก. ผู้มีวาทะว่า อัตตาและโลกเที่ยง
ข. พวกมีความเห็นว่า บางอย่างเที่ยง
ค. พวกมีความเห็นว่า โลกนี้มีที่สิ้นสุดก็มี
ง.​ ผู้มีความเห็นว่า วาทะดิ้นไม่ได้ตายตัว
8.      พวอมราวิกเขปิกาทิฏฐิ คือใคร
ก. ผู้มีวาทะว่า อัตตาและโลกเที่ยง
ข. พวกมีความเห็นว่า บางอย่างเที่ยง
ค. พวกมีความเห็นว่า โลกนี้มีที่สิ้นสุดก็มี
ง.​ ผู้มีความเห็นว่า วาทะดิ้นไม่ได้ตายตัว
9.      พวกมีความเห็นว่า บางอย่างเที่ยง คือพวกใด
ก. พวกสัสสตวาที
ข. พวกเอกกัจจสัสสตทิฏฐิ
ค. พวกอันตานันติกทิฏฐิ
ง.​ พวกอมราวิกเขปิกาทิฏฐิ
10.   พวกที่มีความเห็นว่าอัตตาและโลกเกิดขึ้นเอง คือพวกใด
ก. พวกเอกกัจจสัสสตทิฏฐิ
ข. พวกอันตานันติกทิฏฐิ
ค. พวกอมราวิกเขปิกาทิฏฐิ
ง.​ พวกอธิจจสมุปปันนิกทิฏฐิ
11.   เมื่อพระเจ้าอโศกทรงทราบว่าพวกนี้เป็นอัญเดียรถีย์ไม่ใช่พระภิกษุ เพราะพระองค์ได้ศึกษาลัทธิมาก่อน จึงพระราชทานผ้าขาวแก่เดียรถีย์เหล่านั้นให้สึกไปกี่คน
ก. ๔๐,๐๐๐ คน
ข. ๕๐,๐๐๐ คน
ค. ๖๐,๐๐๐ คน
ง.​ ๗๐,๐๐๐ คน
12.   คัมภีร์กถาวัตถุ เป็นคัมภีร์ที่รวบรวมเรื่องราวที่ถือกันมาอย่างผิดๆ รวม ๒๒๖ เรื่อง เมื่อแบ่งตามสาระธรรมแล้วได้เป็นเรื่องใหญ่ๆ กี่เรื่อง
ก. ๑๕ เรื่อง                      ข. ๑๖ เรื่อง
ค. ๑๗ เรื่อง                      ง.​ ๑๘ เรื่อง

ตอนที่ ๒
1.      ภีร์กถาวัตถุ เป็นลำดับที่เท่าไร ของอภิธรรม ๗ คัมภีร์ ?
ก. ที่ ๓                ข.  ที่ ๕                         
ค.  ที่ ๗               ง.  ไม่มีข้อถูก
2.      คัมภีร์กถาวัตถุ  ใครเป็นผู้แต่งขึ้น ?
ก. พระพุทธโฆษาจารย์    
ข.  พระโมคคัลลีบุตร    
ค. พระธรรมปาละ     
ง.  พระสิริมังคลาจารย์
3.      คัมภีร์กถาวัตถุ  เกิดขึ้นในการสังคายนาครั้งที่เท่าไร ?
ก. ครั้งที่ ๑                  ข.  ครั้งที่ ๒                    ค.  ครั้งที่ ๓                 ง.  ครั้งที่ ๔
4.      คัมภีร์กถาวัตถุ  มีความยาวเท่ากับคัมภีร์ใด ?
ก. ขุททกนิกาย                   ข.  ทีฆนิกาย                   ค.  สังยุตตนิกาย                   ง.  อังคุตตรนิกาย
5.      หมวด ๕ แห่งอนุโลมในคัมภีร์กถาวัตถุ เป็นของฝ่ายใด ?
ก. สกวาที                 ข.  ปรวาที                     ค.  ธัมมวาที               ง.  อาจริยวาที
6.      คัมภีร์กถาวัตถุ แบ่งเป็นกี่ปัณณาสก์ ?
ก. ๔ ปัณณาสก์         ข.  ๕ ปัณณาสก์           
ค.  ๖ ปัณณาสก์         ง.  ๗ ปัณณาสก์
7.      คัมภีร์กถาวัตถุ แบ่งเป็น ๘ นิคคหะ เรียกว่าอะไร ?
ก. อัฏฐมุข           ข.  อัฏฐกนิคคหะ          
ค.  อัฏฐกถา        ง. ข้อ ก และ ข ถูก
8.      นิกายฝ่ายปรวาที ที่เกิดภายหลังได้แก่นิกายใด ?
ก. อันธกะ                 ข.  อปรเสลิยะ               ค.  ราชคิริกะ             ง.  ถูกทุกข้อ
9.      การมีสติกำหนดรู้สภาวะที่เกิดกับกาย  เวทนา  จิต  ธรรม  เรียกว่าอะไร ?
ก. วิปัสสนา                ข.  สติปัฏฐาน               ค.  กรรมฐาน              ง.  ธรรมวิจัย
10.   ในปลายพุทธกาลถึงหลังพุทธกาล อรรถแห่งพระธรรมวินัยคลาดเคลื่อน เพราะเหตุใด ?
ก. พวกเดียรถีย์ปลอมเข้ามาบวช                              ข.  ไม่ได้บวชด้วยศรัทธาแท้
ค. การตีความพระธรรมให้เข้ากับทิฏฐิ                    ง.  ถูกทุกข้อ
11.   ภูมิที่สัตว์ปฏิสนธิ มีเท่าไร ?
ก. ๘ ภูมิ                   ข.  ๑๖ ภูมิ                      ค.  ๓๑ ภูมิ                ง.  ไม่มีข้อถูก
12.       เหตุใด ผู้ศึกษาจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องศึกษา คัมภีร์กถาวัตถุ ?
ก. ป้องกันความเข้าใจผิดในพระพุทธศาสนา             ข.  ช่วยให้ผู้เห็นผิดกลับมาเห็นถูก
ค. ช่วยให้ผู้ศึกษารู้อรรถแห่งธรรม                             ง.  ถูกทุกข้อ

ตอนที่ ๓
1)     การทำสังคายนาครั้งที่ ๓  กระทำขึ้นเมื่อใด
ก. เมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพพานได้ ๒๐๐ ปี
ข. เมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพพานได้    เดือน
ค.​ เมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพพานได้ ๒๓๔  ปี
ง.​ เมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพพานได้ ๕๐๐ ปี
2)     พวกที่ถือมติของการทำสังคายนาครั้งที่ ๒  เรียกว่าอย่างไร
ก. เจติยวาทะ             ข. โคกุลิกะ
ค. เถรวาท                 ง.​ ถิกวาทะ
3)     เมืองที่พระเจ้าอโศกมหาราชปกครองอยู่ชื่อว่าเมืองใด
ก.  นิโครธ                       ข. สาวัตถี
ค. เชตะวัน                       ง​. ปาฏลีบุตร
4)     คัมภีร์ลำดับที่ ๕  ของพระอภิธรรมปิฏกคือ คัมภีร์ใด
ก. ยมก                           ข. วิภังค์
            ค. กถาวัตถุ                       ง.​ ธัมมสังคณี
5)     คัมภีร์ใดจัดเป็นเพชรเม็ดเอกในพระไตรปิฏก
ก. กถาวัตถุ                       ข. ยมก
            ค. วิภังค์                                     ง. ธัมมสังคณี
6)     คัมภีร์เนตติปกรณ์รจนาโดยพระเถระรูปใด
            ก. พระอานนท์                  ข. พระสารีบุตร
            ค. พระพุทธโฆสะ   ง.​ พระมหากัจจายน
7)     พวกสัสสตวาที  คือ  พวกที่มีความเห็นว่าอย่างไร
ก. อัตตาและโลกเที่ยง           ข. เที่ยงแต่บางอย่าง
ค. โลกที่มีสิ้นสุด                 ง.​ โลกไม่มีที่สิ้นสุด
8)     คัมภีร์กถาวัตถุเป็นคัมภีร์ที่พระเถระรูปใดได้ ภาษิตขึ้นมา
ก. พระอานนท์                  ข. พระพุทธโฆสะ
ค. พระโฆคัลลีบุตรติสสเถระ ง.​ พระสารีบุตร
9)     ปฏิโลมฐปนา  หมายถึง  สิ่งใด
ก. การตั้งปฏิโลม    ข. การยกอนุโลม
ค. การถามปฏิโลม ง.​ การตอบปฏิโลม
10)   ปฏิโลมปาปนา  หมายถึงสิ่งใด
ก. การตั้งปฏิโลม    ข. การถึงปฏิโลม
ค. การยกอนุโลม    ง.​ การตอบปฏิโลม
11)   อนุโลมปาปนาคือการกล่าวถึงเรื่องใด
ก. การกล่าวถึงคำตอบในปัญหาหลัง
ข. การกล่าวถึงย้อนถึงคำตอบ
ค. การกล่าวถึง คำพูด
ง.​ การกล่าวถึงการยกอนุโลม
12)   คำถามและคำตอบตามมาติกาที่พระพุทธเจ้า ได้ตั้งแบบเอาไว้ เรียกชื่อว่าอย่างไร
ก. ปกรณ์                         ข. กถาวัตถุ
ค. ยมก                           ง.​ อัฏฐมุข



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น