วันพฤหัสบดีที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

แบบฝึกหัดบทที่ ๖



แบบฝึกหัดบทที่ ๖

๑ คัมภีร์กถาวัตถุ โดยวัตถุประสงค์เพื่อ
ก. คัมภีร์ที่แสดงบัญญัติเกี่ยวกับบุคคล
ข. แก้ปัญหาต่าง ๆ ที่ยังคลุมเครือให้แจ่มแจ้ง
ค. พระธรรมจากคัมภีร์ธัมมสังคณีและคัมภีร์วิภังค์
ง. คัมภีร์ที่ ๒ ของพระอภิธรรมซึ่งมีเนื้อหากว้างขว้าง
๒ คัมภีร์กถาวัตถุเกิดในในการสังคายนาครั้งที่
             ครั้งที่ ๑                              ครั้งที่ ๒
             ครั้งที่ ๓                               ครั้งที่ ๔
๓ คัมภีร์กถาวัตถุ เรื่องที่นำมาซักถามเพื่อชี้ความเห็นผิด บอกความเห็นถูก รวมกี่เรื่อง
             ๒๒๕                                 ๒๒๖
             ๒๓๑                                   ๒๔๑
๔ นิกายฝ่ายที่มิได้ถือพระธรรมคำสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้าโดยตรง เรียกว่าอย่างไร
             ฝ่ายปรวาที                         ฝ่ายสกวาที
             ฝ่ายอรัญวาสี                       ฝ่ายคามวาสี
๕ หากสกวาทีเป็นฝ่ายถามก่อนเรียกว่า
             ปัจจนีกปัญจกะ                 อนุโลมปัญจกะ
             สัสสตวาที                           อลัชชี
๖ เมื่อปรวาทีตอบปัญหาแรกกับปัญหาหลังขัดแย้งกัน    สกวาทีจึงกล่าวข่มด้วยหมวดใด
             หมวด ๒ – ๕                    หมวด ๓ - ๕
             หมวด ๔ -                       หมวด ๕
๗ เรื่องที่มีนิกาย ปรวาที เห็นผิดมากที่สุดเรื่องอะไร
             สติปัฏฐานกถา                  อสังขตธรรม
             โลกและจักรวาล              กรรม
๘ คัมภีร์กถาวัตถุ แบ่งเป็นกี่ปัณณาสก์
             ๕ ปัณณาสก์                      ๔ ปัณณาสก์
             ๓ ปัณณาสก์                       ๒ ปัณณาสก์
๙ มหาปัณณาสก์ มีกี่วรรคและกี่กถา
             ๕ วรรค ๒๑ กถา             ๕ วรรค ๕๔ กถา
             ๕ วรรค ๔๔ กถา             ๕ วรรค ๕๓ กถา
๑๐ ขุททกปัณณาสก์ มีกี่วรรคและกี่กถา
             ๔ วรรค ๒๑ กถา                            ๓ วรรค ๒๑ กถา
             ๓ วรรค ๒๑ กถา                             ๑ วรรค ๒๑ กถา
๑๑ มหาปัณณาสก์ กถา แรก ได้แก่
             ยมก                                     นิคคหะ
             ธาตุกถา                               ปุคคลกถา
๑๒ หลักการช่วยในการศึกษาคัมภีร์กถาวัตถุเบื้องต้นคือ
             มหาปทานสูตร                 อัคคัญญสูตร
             กาลามสูตร                          สังคีติสูตร
๑๓. ข้อใดบอกความหมายของคัมภีร์กถาวัตถุได้ถูกต้อง
                             เป็นคัมภีร์ที่รวบรวมวัตถุ
                             เป็นคัมภีร์แสดงกฎหมายทางธรรม
                             เป็นธรรมที่ได้จำแนกแยกแยะ
                              เป็นคัมภีร์ที่ประมวลสภาวธรรม
๑๔. อนุโลมปัญจกะและปัจจนีปัญจกะมีโครงสร้างเหมือนกันคือข้อใด
                             มีใจความเป็นหมวดหมู่
                             เป็นฝ่ายปรวาที ๕๐๐ สูตร
                             มีหมวด ๕  หมวด
                              เป็นวิบัติแห่งทิฏฐิ
๑๕.อนุโลมฐปนาในหมวดที่ ๒ ให้ความหมายอย่างไร
                             การถึงอนุโลม
                             การตั้งอนุโลม
                             การยกอนุโลม
                              การตั้งปฏิโลม
๑๖. การแสดงปัจจนีกปัญจกะ คือข้อใด
                             สภาวะใดที่จริงแท้มียู่
                             เมื่อผู้ตามเห็นว่าขัดแย้งกัน
                             เป็นที่ผู้ความอ้างสัจธรรมขึ้นตั้ง
                ง. ปรวาทีเป็นฝ่ายตาม สกวาทีเป็นฝ่ายตอบ
๑๗. อนุโลมปัญจกะและปัจจนีกปัญจกะมีข้อแตกต่างกันอย่างไร
                             ต่างกันตรงที่มีหมวด 
                             ต่างกันตรงที่ว่าการถามเป็นการถามแบบชิงปฏิเสธ
                             ต่างกันตรงที่ปรวาทีเป็นฝ่ายตาม
                              ต่างกันตรงที่ สกวาที่เป็นฝ่ายตอบ
๑๘.  พวกที่มีความเห็นว่า โลกมีที่สิ้นสุดก็มี  ไม่มีที่สิ้นสุดก็มี  คือข้อใด
ก.  สัสสตวาที
ข.  อันตานันติทิฎฐิ
ค.  ปัจจัตต
ง. อสังขต
๑๙.  อนุโลมฐปนา  หมายถึง
ก.  การยกอนุโลม
ข.  การถึงอนุโลม
ค.  การตั้งอนุโลม
ง. การวางอนุโลม
๒๐.  หมวดใดเป็นหมวดเพื่อการกล่าวข่มโดยมุ่งให้คำตอบของคำถาม (   )  ขัดแย้งกัน
ก.  หมวดที่ ๒
ข.  หมวดที่ ๓
ค.  หมวดที่ ๓
ง.  หมวดที่ ๑
๒๑.  ปฎิโลมปาปนา  หมายถึง
ก.  การถึงปฎิโลม
ข.  การจากปฎิโลม
ค.  การให้ปฎิโลม
ง.  การลากปฎโลม
๒๒.  คัมภีร์กถาวัตถุเป็นคัมภีร์ลำดับที่เท่าไรของพระอภิธรรมปิฎก
ก.  ลำดับที่ 
ข.  ลำดับที่ 
ค.  ลำดับที่ 
ง.  ลำดับที่ 
๒๓.  มหาสังคีติกะ  แปลว่าอย่างไร
ก.  การทำสังคายนาครั้งใหญ่
ข. การทำสังคายนาเล็กๆ
ค.  การทำสังคายนาแบบทั่วไป
ง.  ถูกทั้งข้อ ก และ ข
๒๔.  นิกายฝ่ายปรวาทียึดถือคำสอนผู้ใดเป็นสำคัญ
ก.  คำสอนของพระอาจารย์ฝ่ายของตนที่กล่าวสืบๆกันมา
ข.  คำสอนของพระพุทธเจ้าโดยตรง
ค.  ไม่ยึดถือคำสอนฝ่ายใดเป็นสำคัญ
ง.  ไม่มีข้อถูก
๒๕.  พระเถระท่านใดทรงภาษิตคัมภีร์กถาวัตถุขึ้น
ก.  พระเจ้าอโศกมหาราช
ข.  พระโมคคัลลีบุตรติสสเถระ
ค.  พระสารีบุตรเถระ
ง.  พระสีวลีเถระ
๒๖. จากความเป็นมาของคัมภีร์กถาวัตถุเริ่มต้นเมื่อปีที่สังคายนาครั้งที่ ๒ เมื่อ พ.ศ.ใด?
ก.พ.ศ.๑๐๐           ข.พ.ศ.๑๐๕                  
ค.พ.ศ.๑๐๘            ง.พ.ศ.๑๑๕
๒๗. การทำสังคายนาครั้งที่ ๒ มีทัศนะเฉพาะตัวเกี่ยวกับความจริง ซึ่งเป็นฐานของวัตรปฏิบัติทึ่งต่างกันเกิดความแตกแยกเป็นกี่นิกาย?
ก. ๑๖ นิกาย        ข. ๑๗  นิกาย  
ค. ๑๘ นิกาย       ง. ๑๙ นิกาย
๒๘. จากการทำสังคายนาพวกหนึ่งถือมติของการสังคายนาเรียกว่าเถรวาทหรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าอะไร?
ก. อุดรนิกาย                 ข. พายัพนิกาย              
ค. ทักษิณนิกาย           ง. บูรพานิกาย
๒๙. จากเหตุการณ์ที่ภิกษุฝ่ายที่ไม่ถือมติของการสังคายนาเรียกว่าเถรวาทได้ทำการสังคายนาใหม่เรียกว่ามหาสังคีติกะ และเรียกพวกตนว่าไร?
ก. มหาเถระ        ข. มหาเถรี   
ค. มหาสังฆิกะ     ง. มหาสังฆกรรม
๓๐. จากเหตุการณ์พระอลัชชีมีมากกว่าพระภิกษุแท้พระภิกษุแท้จึงต้องหยุดการทำอุโบสถสังฆกรรมไว้นานกี่ปี?   
ก. ๔ ปี                             ข. ๕ ปี                              ค. ๖ ปี                              ง. ๗ ปี

แบบฝึกหัดบทที่ ๕




แบบฝึกหัดบทที่ ๕

๑.  ปรมัตถสัจจะ  คือ
ก.  ความจริงตามสภาวะแท้
ข.  ความจริงที่สมมุติขึ้น
ค.  มีแสงสว่างวิญญาณเกิดขึ้น
ง.  มีสภาพที่ว่างจากความเป็นสัตว์
๒.  ปุคคบัญญัติ  แสดงบัญญัติเกี่ยวกับอะไร
ก.  จำแนกเกี่ยวกับความจริง
ข.  ข้อกำหนดว่าด้วยบุคคล
ค.  กำหนดระดับความดี
ง.  กำหนดระดับจิต
๓.  โครงสร้างของปุคคลบัญญัติ มี ๒ ภาค คือ
ก.  อติกะ , ทุกะ
ข.  เวทนา , วิบาก
ค.  อุเทส , นิเทส
ง.  นิวรณ์ , อุปาทาน
๔.  การบัญญัติสภาวะธรรมที่เป็นความจริง ว่าเป็นสัจจะ คือข้อใด
ก.  ขันธบัญญัติ
ข.  ธาตุบัญญัติ
ค.  ปุคคลบัญญัติ
ง.  สัจจบัญญัติ
๕.  วิชชมานบัญญัติ  หมายถึง
ก.  การบัญญัติสภาวะธรรมที่มีอยู่จริง
ข.  การบัญญัติสภาวะสิ่งสมมุติ
ค.  การบัญญัติการปฏิบัติ
ง.  บัญญัติสิ่งที่ดับและธรรมชาติ
๖.  ข้อใด้ไม่จัดอยู่ใน ปุคคลบัญญัติ
ก.  เจตสิก
ข.  อายตนะ
ค.  ธาตุ
ง.  อินทรีย์
๗.  อริยสัจ    จัดอยู่ในข้อใดของบัญญัติ
ก.  อายตนบัญญัติ
ข.  สัจจบัญญัติ
ค.  ธาตุบัญญัติ
ง.  ขันธบัญญัติ
๘.  พระพุทธเจ้าทรงแสดง ปุคคลบัญญัติปกรณ์ ไว้กี่ประการ
ก.    ประการ
ข.    ประการ
ค.    ประการ
ง.    ประการ
๙.  อภัพพาคมนบุคคล  คือบุคคลแบบใด
ก.  เป็นผู้ไม่มีศรัทธา ไม่มีฉันทะ ปัญญาทราม โง่เขลา
ข.  เป็นผู้มีศรัทธา มีฉัทะ มีปัญญา ไม่โง่เขลา
ค.  พระเสขะ    จำพวก  และปุถุชนผู้มีศีล
ง.  บุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยมรรค    จำพวก
๑๐. ปุคคลบัญญัติ เป็นคัมภีร์ที่แสดงบัญญัติเกี่ยวกับอะไร
                             สตนที                บุคคล
                             หมู่บ้าน             สถานศึกษา
๑๑. บัญญัติ ตามนัยของอรรถกถามีกี่ประการ
                         ประการ               ประการ
                          ประการ          ประการ
๑๒. ข้อใดให้ความหมายของบุคคลบัญญัติ ถูกต้อง
                             เป็นคัมภีร์แสดงบัญญัติเกี่ยวกับบุคคลหรือข้อกำหนดว่าด้วยบุคคล
                             เป็นกฎหมายบัญญัติทางธรรม
                             เป็นข้อบัญญัติเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ
                              เป็นการบัญญัติสภาวธรรมเป็นหมวดหมู่
๑๓. หมวดว่าด้วยบุคคล ๓ จำพวก แบ่งเป็นกี่กลุ่ม
                             ๒๐                         กลุ่ม
                             ๑๕                         กลุ่ม
                             ๑๐                          กลุ่ม
                              ๑๗                         กลุ่ม
๑๔. คำว่าบุคคลบัญญัติ  เขียนเป็น บาลีได้อย่างไร
                             ปุคฺคลปญฺญตฺติ
                             ปญฺญาปนา ทสฺสนา
                             ปญฺญัตฺติ
                              นิกฺขิปนา ปุคฺคล
 ๑๕.  คัมภีร์ธาตุกถาเป็นคัมภีร์ลำดับที่เท่าไร  ของอภิธรรมปิฎก
ก.  ลำดับที่             ข.  ลำดับที่ 
ค.  ลำดับที่              ง.  ลำดับที่ 
๑๖.  นยมาติกา  แปลว่าอะไร
ก.  มาติกาภายใน       
ข.  สภาวธรรมแม่บทที่เป็นนัยหรือพิธีการ
ค.  มาติกาภายนอก    
ง.  สภาวธรรมที่เป็นแม่บทแห่งนัย
๑๗.  อัพภันตรมาติกา     แปลว่าอะไร
ก.  มาติกาภายนอก                           ข.  มาติกาภายใน
ค.  สภาวธรรมที่เป็นแม่บทและพิธีการ     
ง.  สภาวธรรมที่เป็นแม่บทแห่งใน
๑๘.  นยมุขมาติกา  แปลว่าอะไร
ก.  มาติกาภายนอก                          ข.  มาติกาภายใน
ค.  สภาวธรรมแม่บทที่เป็นนัยหรือพิธีการ   
ง.  สภาวธรรมที่เป็นแม่บทที่เป็นหลักแห่งนัย
๑๙.  ลักขณมาติการ  แปลว่าอะไร
ก.  มาติกาภายนอก                           ข.  มาติกาภายใน
ค.  สภาวธรรมแม่บทที่เป็นหลักแห่งนัย    
ง.  สภาวธรรมแม่บทที่แสดงลักษณะให้สังเกตได้
๒๐. พระพุทธองค์ทรงแสดงปุคฺคลบัญญัติต่างจากบัญญัติทั้ง ๕ อย่างไร?
ก.       ใช้วิธีถามตอบ
ข.       ทรงแสดงตามลำดับ
ค.       ปุจฉาและวิสัชนา
ง.        ใช้วิธีกเถตุกัมยตาปุจฉา
๒๑.    หมวดใดทรงบัญญัติอริยบุคคลโดยเฉพาะ ?
ก.       จตุกกปุคคล
ข.       ปัญจกปุคคล
ค.       ฉักกปุคคล
ง.        สัตตกปุคคล
๒๒.    ในคำว่าปุคฺคลบัญญัติปุคฺคลหมายถึงใคร ?
ก.       สิ่งที่มีวิญญาณครอง
ข.       ปัจเจกบุคคล
ค.       กลุ่มบุคคล
ง.        กลุ่มคน
๒๓.   ข้อใดไม่ใช่บัญญัติ ๖ ประการ ตามนัยอาจารย์
ก.       อุปนิทาบัญญัติ
ข.       วิชชมานบัญญัติ
ค.       สโมธานบัญญัติ
ง.        สันตติบัญญัติ
๒๔.      อย่างไรเรียกว่าบุคคลผู้เป็นสมยวิมุตตะ ?
ก.       การก้าวลงสู่อริยธรรมมีในลำดับแห่งสภาวธรรมเหล่าใด  บุคคลผู้ประกอบด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น เรียกว่า ผู้เป็นสมยวิมุตตะ
ข.       บุคคลใดยังละสังโยชน์ ๓ ไม่ได้และไม่ปฏิบัติเพื่อละสภาวเหล่านั้น เรียกว่า ผู้เป็นสมยวิมุตตะ
ค.       บุคคลในโลกนี้มีสัมผัสวิโมกข์ ๘ ด้วยกาย ทุกกาล ทุกสมัย แต่อาสวะทั้งหลายของเขาย่อมสิ้นไปเพราะเห็นด้วยปัญญา
ง.        บุคคลในโลกนี้ไม่ได้มีสัมผัสวิโมกข์ ๘ ด้วยกาย ทุกกาล ทุกสมัย แต่อาสวะทั้งหลายของเขาย่อมสิ้นไปเพราะเห็นด้วยปัญญา
๒๕.      ข้อใดไม่ได้อธิบายขยายความโดยไม่ใช้วิธีปุจฉาและวิสัชชนา?
ก.       ขันธบัญญัติ
ข.       อายตนบัญญัติ
ค.       อินทรียบัญญัติ
ง.        ปุคคลบัญญัติ
๒๖. บัญญัติ ตามนัยของอรรถกถามีกี่ประการ
                         ประการ         ประการ
                         ประการ         ประการ
๒๗. ข้อใดให้ความหมายของบุคคลบัญญัติ ถูกต้อง
                             เป็นคัมภีร์แสดงบัญญัติเกี่ยวกับบุคคลหรือข้อกำหนดว่าด้วยบุคคล
                             เป็นกฎหมายบัญญัติทางธรรม
                             เป็นข้อบัญญัติเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ
                              เป็นการบัญญัติสภาวธรรมเป็นหมวดหมู่
๒๘. หมวดว่าด้วยบุคคล  ๒ จำพวก  แบ่งเป็นกี่กลุ่ม 
                             ๒๐                         กลุ่ม
                             ๒๖                         กลุ่ม
                             ๒๗                        กลุ่ม
                              ๒๙                         กลุ่ม