วันจันทร์ที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2558

มคอ ๓ วิชาพระอภิธรรมปิฎก


มคอ.๓
รายวิชา ๐๐๐ ๒๕๐    อภิธรรมปิฎก

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา              มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา     คณะพุทธศาสตร์  คณะครุศาสตร์  คณะสังคมศาสตร์
หมวดที่ ๑ ข้อมูลโดยทั่วไป
๑.รหัสและชื่อรายวิชา  
๐๐๐ ๒๕๐    อภิธรรมปิฎก
                (Abhidhamma  Pitaka)
๒.จำนวนหน่วยกิต               
หน่วยกิต
๓.หลักสูตรและประเภทของรายวิชา
พุทธศาสตรบัณฑิต วิชาแกนพระพุทธศาสนา

๔.อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน
พระมหาธานินทร์ อาทิตวโร,ดร. อาจารย์ผู้สอน
๕.ภาคการศึกษา / ชั้นปีที่เรียน
ภาคการศึกษาที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๘  ชั้นปีที่ ๒
๖.รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี)
ไม่มี
๗.รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี)
ไม่มี
๘.สถานที่เรียน                   
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย  วิทยาเขตขอนแก่น
๙.วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด
สิงหาคม ๒๕๕๘





หมวดที่ ๒ จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
๑.จุดมุ่งหมายของรายวิชา
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้  ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักคำสอนในเรื่องจิต คุณสมบัติของจิต และรูปร่างของมนุษย์  สภาวะของจิตที่มีความเป็นอิสระจากสิ่งเศร้าหมอง  ในอภิธรรมปิฎก
๒. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
หลังจากเรียนจบวิชานี้แล้ว ผู้เรียนสามารถ
๑. อธิบายความหมายและการทำงานของจิตได้
๒. อธิบายคุณสมบัติของจิต ได้
๓. อธิบายความหมายหน้าที่การทำงานของรูป(ร่างกาย)
๓.  อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างจิตและร่างกายตามหลักการทางพุทธศาสนาได้
๔. อธิบายสภาวะจิตที่มีความเป็นอิสระจากสิ่งเศร้าหมองได้(นิพพาน)
๕. นักศึกษาสามารถปรับปรุงพฤติกรรมของตนเองให้ดีขึ้นให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
หมวดที่ ๓ ลักษณะและการดำเนินการ

๑. คำอธิบายรายวิชา
             ศึกษาประวัติ ความเป็นมา ความหมาย โครงสร้างของพระอภิธรรมปิฎก  เนื้อหาสาระ  ประเด็นที่น่าสนใจในพระอภิธรรมปิฏกทั้ง    คัมภีร์  โดยเน้นให้เข้าใจหลักปรมัตถธรรม  คือ  จิต  เจตสิก  รูป  และนิพพาน  โดยอาศัยอรรถกถาและฏีกาประกอบ   
๒. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา
บรรยาย
สอนเสริม
การฝึกปฏิบัติ/งานภาคสนาม/การฝึกงาน
การศึกษาด้วยตนเอง
บรรยาย  ๓๐ ชั่วโมงต่อภาคการศึกษา 

สอนเสริมตามความต้อง การของนักศึกษาเฉพาะ ราย 
ไม่มีการฝึกปฏิบัติงาน ภาคสนาม
การศึกษาด้วยตนเอง ๔ ชั่วโมงต่อสัปดาห์ 
๓. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็น
รายบุคคล
- อาจารย์ประจำรายวิชา แจ้งการให้คำปรึกษาผ่านเวปไซด์คณะพุทธศาสตร์ และอีเมล์ส่วนตัวของอาจารย์
พร้อมทั้งประกาศในห้องเรียน
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ ๑ ชั่วโมงต่อสัปดาห์  (เฉพาะ
รายที่ต้องการ)
หมวดที่ ๔ การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา

๑.คุณธรรม จริยธรรม
๑.๑  คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม ศีลธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบ มีวินัย เคารพในสิทธิของบุคคลอื่น ไม่เบียดเบียนกล่าวร้ายผู้อื่น  มีความซื่อสัตย์ มีความอดทน  นิสิตสามารถพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมไปพร้อมกับการศึกษาอภิธรรม โดยมีคุณธรรมจริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
-    ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
-    มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
-    มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
-    เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
-    เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
-    สามารถวิเคราะห์ผลดีของการศึกษาอภิธรรมต่อสังคม
๑.๒  วิธีการสอน
-   บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรม คุณธรรม จริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับอภิธรรม
-    อภิปรายกลุ่ม
-    กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้องกับเรื่องอภิธรรม
-    บทบาทสมมติ
-    นำเสนอรายงาน
๑.๓ วิธีการประเมินผล
-    พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
-    มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
-    ประเมินผลการทดสอบข้อเขียน
-    ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย


๒.ความรู้
๒.๑  ความรู้ที่ต้องได้รับ
  มีความรู้หลักคำสอนในอภิธรรมปิฎก อรรถกถาอภิธรรม ฎีกาอภิธรรมอย่างเป็นระบบ
๒.๒  วิธีการสอน
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน  การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นคว้าหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา และโครงงาน Problem base learning และ Student Center เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
๒.๓  วิธีการประเมินผล
-       ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี
-       นำเสนอสรุปการอ่านจากการค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
-       วิเคราะห์กรณีศึกษา
-       สัมภาษณ์เป็นรายบุคคล
๓. ทักษะทางปัญญา
๓.๑ ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับจิตวิญญาณ
๓.๒ วิธีการสอน
-       การมอบหมายให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษ และนำเสนอผลการศึกษา
-       อภิปรายกลุ่ม
-       วิเคราะห์กรณีศึกษา ในการนำอภิธรรมมาใช้ในปัจจุบัน
-       การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติกรรมในการควบคุมจิตใจและร่างกาย
๓.๓วิธีการประเมินผล
สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ในปัจจุบันเข้ากับหลักธรรมในอภิธรรม
    ๔.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
๔.๑ ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
-       พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
-       พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
-       พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
๔.๒ วิธีการสอน
-       จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
-       มอบหมายงานรายกลุ่ม และรายบุคคล เช่น การค้นคว้าหลักธรรมในอภิธรรม หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
-       การนำเสนอรายงาน
๔.๓ วิธีการประเมินผล
-       ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
-       รายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
-       รายงานการศึกษาด้วยตนเอง
๕.ทักษะการวิเคราะห์หลักธรรม
๕.๑ ทักษะการวิเคราะห์หลักธรรม     
-    ทักษะการคิด การตีความ วิเคราะห์หลักธรรม
-   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การวิเคราะห์  การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
-    พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
-    พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
-   ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งงานทางอีเมล์ การสร้างห้องแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ เช่น Web lock การสื่อสารการทำงานในกลุ่มผ่านห้องสนทนา feacebook
-    ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
๕.๒ วิธีการสอน     
-   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากคัมภีร์อภิธรรมปิฎก อรรถกถา ตำรา หนังสือ และทำรายงาน โดยเน้นการอ้างคัมภีร์  ตำรา  เอกสาร งานวิจัย จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
-     นำเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
๕.๓ วิธีการประเมินผล
-    การจัดทำรายงาน และนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
-    การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
-    การนำเสนองานโดย power point

หมวดที่ ๕ แผนการสอนและการประเมินผล
๑. แผนการสอน
สัปดาห์ที่
หัวข้อ/รายละเอียด
จำนวนชั่วโมง
กิจกรรมการเรียน การสอน  สื่อที่ใช้ (ถ้ามี)
ผู้สอน


แนะนำการเรียนการสอน


-PowerPoint
-หนังสือเรียน
-คอมพิวเตอร์
พระมหาธานินทร์ 
อาทิตวโร,ดร.


บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระอภิธรรมปิฎก
-ความนำ
-ความเป็นมาของพระอภิธรรมปิฎกสมัยพุทธกาลและสมัยหลังพุทธกาล
- ความหมายของพระอภิธรรมปิฎก
-โครงสร้างของพระอภิธรรมปิฎก
-ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษาอภิธรรม
-PowerPoint
-บรรยาย 
-ยกตัวอย่างประกอบ


พระมหาธานินทร์ 
อาทิตวโร,ดร.


บทที่ ๒ สาระสำคัญในคัมภีร์ธัมมสังคณี
-       ความนำ
-       ความหมายและโครงสร้างของคัมภีร์ธัมมสังคณี
-       จิตตุปปาทกัณฑ์
-       รูปกัณฑ์
-       นิกเขปกัณฑ์
-       อัฏฐกถากัณฑ์
-PowerPoint
-หนังสือเรียน
-คอมพิวเตอร์
-บรรยาย 
-ยกตัวอย่างประกอบ
-ทำแบบฝึกหัด
-ฝึกออกปัญหา

พระมหาธานินทร์ 
อาทิตวโร,ดร.



บทที่ ๓ สาระสำคัญในคัมภีร์วิภังค์
-       ความนำ
-       ความหมายและโครงสร้างของวิภังค์
-       ประเภทของวิภังค์
-       วิธีการจำแนกวิภังค์
-       วิธีการจำแนกในขันธวิภังค์
-PowerPoint
-หนังสือเรียน
-คอมพิวเตอร์
-บรรยาย 
-ยกตัวอย่างประกอบ
-ทำแบบฝึกหัด
-ฝึกออกปัญหา
พระมหาธานินทร์ 
อาทิตวโร,ดร.


บทที่ ๓ (ต่อ)
-       วิธีการจำแนกขันธ์ ๕ ด้วยสุตตันตภาชนียนัย
-       วิธีการจำแนกขันธ์ ๕ ด้วยอภิธรรมภาชนียนัย
-       วิธีการจำแนกขันธวิภังค์ - ปัญหาปุจฉกะ
-        
-PowerPoint
-หนังสือเรียน
-คอมพิวเตอร์
-บรรยาย 
-ยกตัวอย่างประกอบ
-ทำแบบฝึกหัด
-ฝึกออกปัญหา
พระมหาธานินทร์ 
อาทิตวโร,ดร.

บทที่ ๔  สาระสำคัญในคัมภีร์ธาตุกถา
-       ความนำ
-       ความหมายของธาตุกถา
-       โครงสร้างของคัมภีร์ธาตุกถา
-       สงเคราะห์วิปัสสนาภูมิ ๖ และปรมัตถธรรม ๔ โดยขันธ์-อายตนะ-ธาตุ



-PowerPoint
-หนังสือเรียน
-คอมพิวเตอร์
-บรรยาย 
-ยกตัวอย่างประกอบ
-ทำแบบฝึกหัด
-ฝึกออกปัญหา
พระมหาธานินทร์  
อาทิตวโร,ดร.

บทที่ ๕ สารสำคัญในคัมภีร์ปุคคลบัญญัติ 
-       ความนำ
-       ความหมายและโครงสร้างของปุคคลบัญญัติ
-       ปุคคลบัญญัติปกรณ์
-       ประเภทแห่งบุคคล

-PowerPoint
-หนังสือเรียน
-คอมพิวเตอร์
-บรรยาย 
-ยกตัวอย่างประกอบ
-ทำแบบฝึกหัด
-ฝึกออกปัญหา
พระมหาธานินทร์ 
อาทิตวโร,ดร.
สอบกลางภาค

พระมหาธานินทร์ 
อาทิตวโร,ดร.

บทที่ ๖  สาระสำคัญในคัมภีร์กถาวัตถุ
-       ความนำ
-       ความเป็นมาและความหมายของคัมภีร์ถกาวัตถุ
-       โครงสร้างคำถามตามแนวคัมภีร์กถาวัตถุ : การตั้งคำถาม การกล่าวข่ม (นิคคหะ) และการอธิบายความ
-PowerPoint
-หนังสือเรียน
-คอมพิวเตอร์
-บรรยาย 
-ยกตัวอย่างประกอบ
-ทำแบบฝึกหัด
-ฝึกออกปัญหา
พระมหาธานินทร์ 
อาทิตวโร,ดร.
๑๐

บทที่ ๖ (ต่อ)
-       สาระธรรมจากคัมภีร์กถาวัตถุ และแนวทางการวิเคราะห์ถึงความเชื่อของฝ่ายปรวาที
-       วิธีนำคัมภีร์กถาวัตถุประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

-PowerPoint
-หนังสือเรียน
-คอมพิวเตอร์
-บรรยาย 
-ยกตัวอย่างประกอบ
-ทำแบบฝึกหัด
-ฝึกออกปัญหา
พระมหาธานินทร์ 
อาทิตวโร,ดร.
๑๑

บทที่ ๗ สาระสำคัญในคัมภีร์ยมก
-       ความนำ
-       ความหมายและโครงสร้างของคัมภีร์ยมก
-       วิธีดำเนินการของคัมภีร์ยมกตามสภาวธรรม ๑๐ หมวด

-PowerPoint
-หนังสือเรียน
-คอมพิวเตอร์
-บรรยาย 
-ยกตัวอย่างประกอบ
-ทำแบบฝึกหัด
-ฝึกออกปัญหา
พระมหาธานินทร์ 
อาทิตวโร,ดร.
๑๒

บทที่ ๘ สาระสำคัญในคัมภีร์ปัฏฐาน
-       ความนำ
-       ความหมายและโครงสร้างของคัมภีร์ปัฏฐาน
-       ความหมายองค์ประกอบของปัฏฐาน ๓ ประการ
-PowerPoint
-หนังสือเรียน
-คอมพิวเตอร์
-บรรยาย 
-ยกตัวอย่างประกอบ
-ทำแบบฝึกหัด
-ฝึกออกปัญหา
พระมหาธานินทร์ 
อาทิตวโร,ดร.
๑๓

บทที่ ๘ (ต่อ)
-       การจำแนกปัจจัย ๒๔ โดยเหตุ ผล และสัตติ
-       ข้อกำหนดในชาติทั้ง ๙ ของปัจจัย ๒๔ เป็น ๕๒
-       สรุปปัจจัย ๕๒ ในชาติทั้ง ๙ โดยภูมิ, สัตติ, กาล, ประเภทนาม รูป และแสดงเป็นคู่ๆ
บรรยาย  อภิปราย
การวิเคราะห์
พระมหาธานินทร์ 
อาทิตวโร,ดร.
๑๔


-       อภิปรายกลุ่ม
นิสิตนำเสนองานตามหัวข้อที่ได้รับมอบหมาย
พระมหาธานินทร์ 
อาทิตวโร,ดร.
๑๕
สรุปเนื้อหารายวิชา
บรรยาย
พระมหาธานินทร์ 
อาทิตวโร,ดร.
๑๖
สอบปลายภาค

พระมหาธานินทร์ 
อาทิตวโร,ดร.

๒. แผนการประเมินผลการเรียนรู้

ที่
วิธีการประเมิน
สัปดาห์ที่ประเมิน
สัดส่วนของการประเมิน
ทำแบบฝึกหัด
สอบกลางภาค
ทำแบบฝึกหัด
สอบปลายภาค
๓-๗
๙-๑๒
๑๖
๑๐  %
๑๐  %
๑๐  %
๕๐  %
วิเคราะห์กรณีศึกษา  ค้นคว้า การนำเสนอรายงาน
การทำงานกลุ่มและผลงาน
การส่งงานตามที่มอบหมาย
ตลอดภาคการศึกษา
๐  %
การเข้าชั้นเรียน
การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน
ตลอดภาคการศึกษา
๑๐  %
หมวดที่ ๖ ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

๑. เอกสารและตำราหลัก
Bhikkhu Bodhi, A Comprehensive  Manual of Abhidhamma, Sangharaja Mawatha, Buddhist  Publication Society, Kandy,Sri  Lanka.
กระทรวงศึกษาธิการ. ความรู้เรื่องพระไตรปิฎก. กรุงเทพมหานคร : คุรุสภา, ๒๕๓๕.
บุญทัน  มูลสุวรรณ. พระไตรปิฎกสำหรับเยาวชน เล่ม ๙. ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๓๙.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. อภิธรรมปิฎก. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙.
พระพุทธโฆสะ. ปรมตฺถทีปนี ธาตุกถาทิปญฺจปฺปกรณฏฺฐกถา. กรุงเทพมหานคร : มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๔๖๕.
พระอมรเมธาจารย์, พระเมธีธรรมาภรณ์ และคณะ. พระไตรปิฎกปริทัศน์. กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๘.
พุทธทัตตเถระ(แต่ง),ประชุม  เรืองวารี(แปล). พระอภิธัมมาวตาร. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์กรมการศาสนา, ๒๕๔๓.
พระคันธสาราภิวงศ์. ปรมัตถสังคหะและปรมัตถทีปนี. กรุงเทพมหานคร : พิมพ์ที่ห้างหุ้นส่วนจำกัด ไทยรายวัน กราฟฟิค เพลท, ๒๕๔๖.
พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ. ปรมัตถโชติกะ ปริจเฉทที่ ๓ และปริจเฉทที่ ๗. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๘.
พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ. ปริจเฉทที่ ๑-๒-๖. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,
         ๒๕๓๖.
พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ. นามรูปวิถีวินิจฉัย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,
         ๒๕๒๗.
พระครูสังวรสมาธิวัตร(ประเดิม กมโล). คู่มือการศึกษาพระอภิธรรมปิฎก เล่ม ๑ ภาคจิต. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์พิทักษ์อักษร, ๒๕๒๑.
พระครูสังวรสมาธิวัตร (ประเดิม กมโล). คู่มือการศึกษาพระอภิธรรมปิฎก เล่ม ๒ ภาคเจตสิก. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์พิทักษ์อักษร, ๒๕๒๑.
พระครูสังวรสมาธิวัตร (ประเดิม กมโล). คู่มือการศึกษาพระอภิธรรมปิฎก เล่ม ๓ ภาครูป นิพพาน. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์พิทักษ์อักษร, ๒๕๒๑.
วรรณสิทธิ์  ไวทยะเสวี. คู่มือการศึกษาพระอภิธรรมพื้นฐาน. กรุงเทพมหานคร : พัฒนวิทย์การพิมพ์, ๒๕๔๙.
วิศิษย์  ชัยสุวรรณ (เรียบเรียง). สาระน่ารู้เกี่ยวกับพระอภิธรรม. ครั้งที่ ๕. กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๖.
สมไชย  รากโพธิ์. คู่มือการศึกษาพระอภิธรรม จิตตสังคหะ ปริจเฉทที่ ๑. (วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม). กรุงเทพมหานคร : ม.ป.พ., ม.ป.ป.
สุชีพ ปุญญานุภาพ. พระไตรปิฎก ฉบับประชาชน. กรุงเทพมหานคร : มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๒๓.
เสถียรพงษ์ วรรณปก. พระไตรปิฎกวิเคราะห์. กรุงเทพมหานคร : รุ่งแสงการพิมพ์, ๒๕๓๐.
อัมภา  พิชิตการค้า (รวบรวม). พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ. กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๗.
๒.เอกสารและข้อมูลสำคัญ
http:www.google.co.th/คลิกไปที่เว็บอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย   มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,อภิธรรมวัดระฆังโฆสิตาราม
๓. เอกสารและข้อมูลแนะนำ
เว็บไซด์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น wikipedia คำอธิบายศัพท์

หมวดที่ ๗ การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา
๑.กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนิสิต ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนิสิตได้ดังนี้
-    การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
-    การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
-    แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
-    ขอเสนอแนะผ่านเวบบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนิสิต
-     
    ๒.กลยุทธ์การประเมินการสอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
-    การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน
-    ผลการสอบ
-    การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้

   ๓.การปรับปรุงการสอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
-    สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
-      การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
  ๔.การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนิสิต หรือการสุ่มตรวจผลงานของนิสิต รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
-   การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนิสิตโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
-   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนิสิต โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
  ๕.การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
-    ปรับปรุงรายวิชาทุก ๓ ปีหรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ ๔
-   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือแนวคิดใหม่ ๆ



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น